เกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการดำเนินการที่เป็นเลิศ (EdPEx)

รายงานการตรวจประเมินตามเกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการดำเนินการที่เป็นเลิศ EdPEx

เกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการดำเนินการที่เป็นเลิศ (EdPEx)

1709526924723
เกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการดำเนินการที่เป็นเลิศ ฉบับปี 2567-2570
[20.11.66]V.แจก 27-28.11-ร่างเกณฑ์ EdPEx 2567-2670+ลายน้ำ_Page_001
เอกสาร frolled doo (ร่าง) เกณฑ์คุณภาพการศึกษา เพื่อการดำเนินการที่เป็นเลิศ ฉบับปี 2567-2570 ดลเท่านั้น hidol University วิชาการ)
00. เกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการดำเนินการที52-61_Page_001
เกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการดำเนินการที่เป็นเลิศ (EdPEx)​
ฉบับปี 2552-2561
00. เกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการดำเนินการที_Page_001
เกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการดำเนินการที่เป็นเลิศ (EdPEx)​
ฉบับปี 2558-2561
เกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการดำเนินการที่_Page_001
เกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการดำเนินการที่เป็นเลิศ (EdPEx)​
ฉบับปี 2563-2566

รายงานการประเมินตนเองตามเกณฑ์ EdPEx 2565

แนวทางการเขียนรายงาน การประเมินตนเอง ตามเกณฑ์คุณภาพการศึกษา เพื่อการดำเนินการที่เป็นเลิศ ฉบับปี 2563-2566 (EdPEx) ประจำปีการศึกษา

เกณฑ์การคัดเลือกชุมชนที่สำคัญ และรายชื่อ ตามเกณฑ์ EdPEx

เอกสารบรรยาย

องค์ประกอบภาพรวม

EdPEx ภาพรวม_OP_for PI_Page_001
องค์ประกอบ EdPEx ภาพรวมของสถาบัน
00. 30032565_new_EdPEx ภาพรวม_Page_01
องค์ประกอบ EdPEx ภาพรวมของคณะฯ
0000. 20072565_EdPEx OP_หมวด 1-7_Page_004
องค์ประกอบ EdPEx ภาพรวม
หมวดที่ 1-7

คำศัพท์ EdPEx

คำศัพท์โครงร่างองค์กร (Organizational Profile)

คลิกที่นี่เพื่ออ่านเอกสารรูปแบบ  >> PDF <<

ศัพท์เกณฑ์ EdPEx หมวด 1-7

คลิกที่นี่เพื่ออ่านเอกสารรูปแบบ  >> PDF <<

คำศัพท์น่ารู้ EdPEx หมวดที่ 1 การนำองค์กร (Leadership System)

คลิกที่นี่เพื่ออ่านเอกสารรูปแบบ  >> PDF <<

คำศัพท์น่ารู้ EdPEx หมวดที่ 2 กลยุทธ์ (Strategy)

คลิกที่นี่เพื่ออ่านเอกสารรูปแบบ  >> PDF <<

คำศัพท์น่ารู้ EdPEx หมวดที่ 3 ลูกค้า (Customer)

คลิกที่นี่เพื่ออ่านเอกสารรูปแบบ  >> PDF <<

คำศัพท์น่ารู้ EdPEx หมวดที่ 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดความรู้ (Measurement Analysis and KM)

คลิกที่นี่เพื่ออ่านเอกสารรูปแบบ  >> PDF <<

คำศัพท์น่ารู้ EdPEx หมวดที่ 5 บุคลากร (Workforce)

คลิกที่นี่เพื่ออ่านเอกสารรูปแบบ  >> PDF <<

คำศัพท์น่ารู้ EdPEx หมวดที่ 6 กระบวนการทำงาน (Work Process)

คลิกที่นี่เพื่ออ่านเอกสารรูปแบบ  >> PDF <<

คำศัพท์น่ารู้ EdPEx หมวดที่ 7.1 ผลลัพธ์ (Result)

คลิกที่นี่เพื่ออ่านเอกสารรูปแบบ  >> PDF <<

คำศัพท์น่ารู้ EdPEx หมวดที่ 7.2 ผลลัพธ์ (Result)

คลิกที่นี่เพื่ออ่านเอกสารรูปแบบ  >> PDF <<

คำศัพท์น่ารู้ EdPEx หมวดที่ 7.3 ผลลัพธ์ (Result)

คลิกที่นี่เพื่ออ่านเอกสารรูปแบบ  >> PDF <<

คำศัพท์น่ารู้ EdPEx หมวดที่ 7.4 ผลลัพธ์ (Result)

คลิกที่นี่เพื่ออ่านเอกสารรูปแบบ  >> PDF <<

คำศัพท์น่ารู้ EdPEx หมวดที่ 7.5 ผลลัพธ์ (Result)

คลิกที่นี่เพื่ออ่านเอกสารรูปแบบ  >> PDF <<

เกณฑ์การประเมินผลลัพธ์หมวด 1-6 และหมวด 7

หนังสือเกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติ 2563-2564

The Challenge of Establishing World-Class Universities

เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals: SDGs)

เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals: SDGs) เป็นชุดเป้าหมายการพัฒนาระดับโลกหลังปี 2015 ที่ได้รับการรับรองจาก 193 ประเทศสมาชิกขององค์การสหประชาชาติ เมื่อวันที่ 25 กันยายน ค.ศ. 2015 ครอบคลุมช่วงระยะเวลาที่ต้องบรรลุภายใน 15 ปี ได้เป็นทิศทางการพัฒนาที่ทุกประเทศที่ต้องดำเนินการร่วมกันมาตั้งแต่ปีค.ศ. 2016 ไปจนถึงปี ค.ศ. 2030 โดยเอกสารที่ประเทศสมาชิกทั้งหมดลงนามรับรองเป็นพันธะสัญญานั้นเรียกว่า “Transforming Our World: the 2030 Agenda for Sustainable Development” หรือ “วาระการพัฒนาที่ยั่งยืน 2030” ฉะนั้นในบางโอกาส SDGs อาจถูกกล่าวถึงผ่านชื่ออื่นได้ทั้ง Agenda 2030 หรือ Global Goals

เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals: SDGs) มีทั้งหมด 17 เป้าหมาย (Goals) ภายใต้หนึ่งเป้าหมายจะประกอบไปด้วยเป้าหมายย่อย ๆ ที่เรียกว่า เป้าหมายย่อย (Targets) ซึ่งมีจำนวนทั้งหมด 169 เป้าหมายย่อย และพัฒนา ตัวชี้วัด (Indicators) จำนวน 232 ตัวชี้วัด (ทั้งหมด 244 ตัวชี้วัดแต่มีตัวที่ซ้ำ 12 ตัว) เพื่อติดตามความก้าวหน้าของเป้าหมายย่อยดังกล่าว

แบบสอบถาม

Scroll to Top